Coronary รวม UA/NSTEMI and STEMI
May 28, 2019•1,962 words
http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/n_report2_10.pdf
Pre-CAG lab
- CBC, Plt
- Coag
- Cr
- Elyte
ใครบ้างที่ต้องนึกถึง MI
- Shock with fever
- arrhythmia espceially ventricular origin
- cardiac arrest
- pulmonary edema CHF
- HT emergency
Pleuritic chest pain --> pulmonary infarction (PE), TNX ได้
Pitfalls and Pearls
- DDx: acute chest pain mimicking ACS
- aortic dissection
- acute PE
- Surprisingly, unstable angina and non-STEMI can both occur, even with a completely normal ECG; this makes diagnosis quite a challenge
- Three different presentations of unstable angina exist: (มักมีอาการมากกว้่า 15 นาที อมไม่ดีขึ้น)
- Exertional angina of new onset ***** (even if relieved with rest and requiring a consistent amount of exertion to produce symptoms, angina is considered unstable when it first occurs)
- Exertional angina that was previously stable and now occurs with less physical exertion
- มีการเจ็บอก angina เพิ่มมาก ขึ้น โดยเพิ่มขนอย ึ้ างนอย 1 CCS class หรือ มีความรุนแรงอยาง นอยเทากับ CCS class 3 ยกเวนในบางกรณีที่ผูปวยไมสามารถบอกไดเชน ผูปวยที่มาดวย post cardiac arrest, shock, syncope หรือ cardiogenic dyspnea
- CCS (Canadian Cardiovascular Society) classification
- Class 1 : อาการเจ็บหนาอกเก ิดเฉพาะเมื่อออกกําลังกายหนักๆ หรอออก ื กําลังกายเปนเวลานาน
- Class 2 : อาการเจ็บหนาอกเก ิดเมื่อออกแรงปานกลาง เชน เดินขึ้นบันได ไดมากกวา 1 ชั้น ดวยความเร็วปกติหรอเก ื ิดขณะมีความเครียด ทางอารมณ
- Class 3 : อาการเจ็บหนาอกเก ิดแมเพียงทํากิจวัตรประจําวันที่เบาๆ เชน
เดินขึ้นบันไดไดเพียง 1 ชั้นเทานั้น หรอเด ื ินไดระยะทาง นอยกวา
100 เมตร
Class 4 : อาการเจ็บหนาอกเกิดขึ้นแมขณะพัก ไมสามารถทํากิจกรรมเล็กๆ
- Anginal symptoms at rest without physical exertion (ไม่ได้ออกแรง) *****
- Ref: https://www.healio.com/cardiology/learn-the-heart/cardiology-review/topic-reviews/coronary-artery-disease-unstable-anginanstemi
- อย่าให้ Nitrate ถ้าาา
- RV infarction
- Hypotension
- Viagra within 48 hr
- อย่าให้ Nitrate ถ้าาา
- Hypotension
- คนไข้มาที่ ER หาก diag เป็น ACS ให้ดูว่า
- UA ถ้าประวัติชัด มี risk จริงก็ tx เลยไม่ต้องกลัว tx เกินดีกว่าขาดนะภาวะนี้ บอกคนไข้ให้เข้าใจ
- เป็น NSTEMI หรือไม่จาก rising enzyme
- ส่วน STEMI ไม่ต้องรอผล enzyme
- หากยังไม่มั่นใจใน STEMI diag --> ให้ทำ serial 12-lead EKG (อ. พงบอกว่า ถ้า STEMI ตายยิ่งตายจะยิ่งยก)
- หลังจาก diag ว่าเป็น UA/NSTEMI
- ให้ classify risk จ้า คิดไว้ล่วงหน้าเลยเน้อ
- High (to Very High) risks - ต้องส่งไป CAG ทันที
- Not High risks - ควรส่งไป CAG ทุกรายแต่ไม่รีบ
- ไม่ว่าจะ class ไหน ต้องให้ medical and supportive tx and Complication Tx เสมอ อย่าลืมว่าระหว่างนี้อาจ progress ได้จนคนไข้ตายเลยนะ
- MONA ตาม indications ระวัง contraindications
- Stat!! 300, 325 ASA ทันทีเคี้ยว กลืน
- อย่าละเลย pain คนไข้ นั่นบอกว่าคนไข้อาจกำลังมี ongoing ischemia
- หลังจาก diag ว่าเป็น STEMI ที่มาใน 12 hr หรือมี ongoing chest pain
- Reperfusion therapy/Revascularization is NEEDED !! (unless risks > benefits)
- ทำตาม protocol and keep in mind about time
- Ideally, Primary PCI :is preferred Pconsider first choice
- คือ การทํา PCI ในผู ป วย STEMI โดยที่ยังไม มีการให thrombolytic
- การทํา facilitated PCI (หมายถึงการทํา primary PCI รวมกับการให thrombolytic พรอมกัน) ใหลงขอมูลวาเปน primary PCI
- Otherwise, 'Phamacoinvasive' is is second
- Thrombolytic (Fibrinolytic agents) + PCI
- tissue plasminogen activator (tPA)
- Streptokinase
- Surgical intervention eg, CABG may be more appropriate in selected case on expert staff
- PCI-capable hos
- 90 min to balloon
- Not PCI-capable hos
- 120 min to balloon?
- yes
- not likely - start fibrinolytic if no C/I
- after fibrinolytic ดู respone
- ok - ค่อยๆประสานทำเรื่องไป angiogram + PCI
- poor - รีบไป Rescue PCI (Salvage PCI) จ้าาา
- คือการทํา PCI ในรายที่มีการให Thrombolytic drug มากอนแลวไมสําเร็จ โดยที่ผูปวยยงมั ีอาการ chest pain และ/หรือ EKG ยังมี STEMI อยู และไดรับการทํา PCI ภายใน 24 ชั่วโมง ตั้งแตเริ่มเจ็บหนาอก
- อย่าลืม Medical and supportive tx and Complication Tx เสมอ
- Complication to expect
- Cardiac Arrest !!
- Arrhythmia
- Heart block : หมายถึง เฉพาะ Second degree หรือ third degree AV block
- Ventricular Arrhythmia : ภาวะ ventricle เตนผิดจังหวะ ทั้งชนิด sustain ventricular tachycardia (VT) หรือ ventricular fibrillation (VF)
- CHF
- ภาวะหัวใจลมเหลว เปนภาวะที่หัวใจไมสามารถสงเลือดไปเลี้ยงอวัยวะ และ เนื้อเยื้อตางๆไมเพียงพอตอความตองการของรางกาย
- 1.) No : ไมมีภาวะ heart failure
- 2.) Yes : มีภาวะ heart failure
- At presentation or within first 48 hours : มีภาวะหัวใจลมเหลว ตั้งแตแรกรับ หรือภายใน 48 ชม.แรก
- Killip class 2 : mild failure มีเสียง Rales < 50 % ของปอด หรือได ยิน เสียง S3
- Killip class 3 : Frank pulmonary edema มีเสียง Rales > 50 % ของปอด
- Killip class 4 : Cardiogenic shock (SBP < 90 mmHg, ปลายมือ- เทาเย็น ปสสาวะออกนอย, มีภาวะน้ําทวมปอด)
- After 48 hours : มีภาวะหัวใจลมเหลวภายหลังจากเขารับการรักษา ในโรงพยาบาล 48 ชม.
- Shock
- ภาวะที่มีการไหลเวียนของเลอดไปย ื ังอวัยวะตางๆไมเพียงพอกับความ ตองการของรางกายโดยมีอาการแสดงทางคลินิกดังตอไปนี้
- 1.) Systolic blood pressure < 90 mmHg เปนเวลาอยางนอย 30 นาที
- 2.) อาการแสดง ที่บงบอกถึง end-organ hypoperfusion เชน ซึม ไมคอยร ูสึกตัว เย็นตาม ปลายมือ ปลายเทา กระสับกระสาย ปสสาวะออก < 30 ml/hr
- 3.) Cardiac index < 2.2 L/min/m2 และ Pulmonary capillary wedge pressure > 15 mmHg
- หมายเหต : ุ หากไมมีขอมูลขอ 3.) ตองมีทั้งขอ 1.) และขอ 2.)
- Bleeding complications
- CVA (Cerebrovascular Accident)
- Results
- Cardiac death
- ผูปวยเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลโดยมีสาเหตุอันเนองมาจากโรคห ื่ ัวใจ และ ใหระบุวาเปนแบบใด
- 1.) Pumping failure : สาเหตุการตายอันเนื่องจากกลามเนื้อหัวใจลมเหลว
- 2.) Mechanical complication : สาเหตุการตายอันเนื่องจาก ruptured interventricular septum, ruptured papillary muscle, ruptured free wall
- 3.) Arrhythmia : VT, VF
- Non cardiac death
- ผูปวยเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลโดยไมมีสาเหตุอันเนื่องมาจากโรคหัวใจ เชน sepsis, respiratory failure, pneumonia, cancer, trauma, suicide, liver disease หรือ renal failure
- Survive
Medical treatment ยาที่ผูปวยไดรับนานกวา 24 ชั่วโมง (ยกเวน GP IIb IIIa inhibitor ทอาจ ี่ ใหไมถึง 24 ชม.) และรวมถึงยาที่ใหผูปวยกลับบาน (Home medication)
|
3.) Elective PCI : คือ การทํา PCI ในรายที่มี spontaneous or exercise induced ischemia ( ไมวาจะไดรับ thrombolytic หรือไม ) ดังตอไปนี้ 3.1 ผปู วย STEMI ที่ไดรับการทํา PCI เกิน 24 ชม. ตั้งแตเริ่มมีอาการเจ็บ หนาอก 3.2 ผูปวย non STEMI และ unstable angina ที่ไดรับการทํา PCI มากกวา 7 วัน ตั้งแตเริ่มมีอาการเจ็บหนาอก
4.) Early invasive strategy : คือการทํา PCI ใน non STEMI และ unstable angina ภายใน 7 วัน(นอยกวาและเทากับ 7 วัน) ตั้งแตเริ่มมีอาการเจบ็ หนาอก
CABG (Coronary Artery Bypass Graft)
การผาตัดแกไขหลอดเลือดหวใจต ั ีบ แยกเปน
1.) Emergency CABG : คือการทํา CABG โดยมีจุดมุงหมายเพื่อแกไขภาวะ on going chest pain หรอื cardiogenic shock
2.) Elective CABG : คือ การทํา CABG ในขณะที่ผูปวยมีอาการดีขึ้นจาก
ภาวะ acute ischemia แลว แตเปนการผาตัดเพื่อประโยชนในระยะยาว
เวลาที่ทํา: ไดแกเวลาที่เริ่ม ผาตัด (ลงมีด)
CCQ: What are approved indication for dual antiplatelet therapy ?
'''
วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2553
810. Indications for dual antiplatelet therapy
Indications for dual antiplatelet therapy are....
การจะตอบคำถามข้อนี้ต้องใช้เวลาสืบค้นนาน แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถหาคำตอบที่แน่นอนได้ เพราะไม่มีการเขียนที่ชัดเจนว่ามีข้อบ่งชี้อะไรบ้าง คงต้องอ่านจากบทความที่ชื่อ Is dual antiplatelet therapy needed for all CVD patients? เป็นของ The british journal of cardiology ซึ่งก็ยังเป็นการศึกษาวิจัยที่ยังไม่สามารถสรุปได้อย่างลงตัว แต่เป้นเรื่องที่น่าสนใจมาก ลองติดตามดูนะครับ
http://bjcardio.co.uk/2010/03/is-dual-antiplatelet-therapy-needed-for-all-cvd-patients/
Pivotal clinical trials of dual therapy in pateint groups